ผลการเลือกตั้ง ของ การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535

สัญลักษณ์ชื่อพรรคหัวหน้าพรรคจำนวน ส.ส.
พรรคสามัคคีธรรมนายณรงค์ วงศ์วรรณ79 คน
พรรคชาติไทยพลอากาศเอกสมบุญ ระหงษ์74 คน
พรรคความหวังใหม่พลเอกชวลิต ยงใจยุทธ72 คน
พรรคประชาธิปัตย์นายชวน หลีกภัย44 คน
ไฟล์:Plt-th.gifพรรคพลังธรรมพลตรีจำลอง ศรีเมือง41 คน
พรรคกิจสังคมนายมนตรี พงษ์พานิช31 คน
พรรคประชากรไทยนายสมัคร สุนทรเวช7 คน
พรรคเอกภาพนายอุทัย พิมพ์ใจชน6 คน
พรรคราษฎรพลเอกเทียนชัย ศิริสัมพันธ์4 คน
ไฟล์:พรรคมวลชน.PNGพรรคมวลชนร้อยตำรวจเอกเฉลิม อยู่บำรุง1 คน
พรรคปวงชนชาวไทยพันเอกพล เริงประเสริฐวิทย์1 คน

ในการเลือกตั้งครั้งนี้มี 4 พรรค ที่ส่งผู้สมัครแต่ไม่มีผู้ใดได้รับเลือกเลยคือ พรรคสหประชาธิปไตย, พรรครวมพลังใหม่, พรรคท้องถิ่นก้าวหน้า และ พรรคเกษตรเสรี

อนึ่ง การเลือกตั้งครั้งนี้โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร พรรคพลังธรรม ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก โดยสามารถได้ที่นั่งถึง 32 ที่นั่งจากทั้งหมด 35 ที่นั่ง ทำให้นักการเมืองที่มีชื่อเสียงหลายคนไม่ได้รับการเลือกตั้ง เช่น ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง หัวหน้าพรรคมวลชน, นายมารุต บุนนาค, นายปราโมทย์ สุขุม พรรคประชาธิปัตย์ และเป็นถือเป็นการเข้ามามีบทบาททางการเมืองครั้งแรกด้วยของนักการเมืองหน้าใหม่ที่กลายมาเป็นผู้มีบทบาทสำคัญในทางการเมืองในเวลาต่อมา ได้แก่ นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ ซึ่งเป็นผู้เดียวที่ได้รับการเลือกตั้งในพื้นที่กรุงเทพมหานครของพรรคประชาธิปัตย์ และคุณหญิงสุดารัตน์ เกยุราพันธุ์ จากพรรคพลังธรรม[2]

ใกล้เคียง

การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2566 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2562 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2550 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2554 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2549 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2544 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2557 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป พ.ศ. 2548 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไทยเป็นการทั่วไป มีนาคม พ.ศ. 2535